У нас вы можете посмотреть бесплатно เฉลยข้อสอบ ก.พ. 64 | อนุกรม (รอบ Paper วันที่ 8 พ.ค. 65) или скачать в максимальном доступном качестве, которое было загружено на ютуб. Для скачивания выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru
ในคลิปนี้ทีมงานได้รวบรวม ข้อสอบ อนุกรม ทั้งหมด 14 ข้อที่ได้จัดสอบไปเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2565 ทั้งรอบเช้าและรอบบ่าย มาเป็นแนวทางให้กับผู้ที่จะเข้าสอบในรอบถัดๆไป 0:14 ข้อที่ 1 อนุกรมแบบที่ออกมาใหม่ แต่ออกสอบมาแล้ว 3 รอบติดๆ ตั้งแต่ สอบ กพ 63 ตามมาด้วย สอบ กพ 64 ทั้งรอบ e-exam และ รอบปกติ(paper and pencil) ถือได้ว่าเป็นรูปแบบที่มองออกได้ยากที่สุด 1:45 ข้อที่ 2 เป็นรูปแบบที่นานๆจะออกมาซักที ต้องใช้การสังเกตุเลขยกกำลัง ถ้ามองไม่เห็นเลขยกกำลังข้อนี้จะยากทันที 2:37 ข้อที่ 3 จะเป็นอนุกรมแบบปกติ คือหาส่วนต่างไปเรื่อยๆ คุณจะเห็นรูปแบบของอนุกรมในชั้นล่างๆ ถือได้ว่าเป็นข้อมาตรฐานที่ต้องมีในข้อสอบและต้องตอบให้ได้ 4:31 ข้อที่ 4 คาดว่าจะเป็นข้อสอบ กพ สำหรับวุฒิปวสและอนุปริญญา ใช้การคูณที่เพิ่มค่าขึ้นไปเรื่อยๆ จาก x2,x3,x4 และเป็น x5 5:07 ข้อที่ 5 ข้อนี้จะคิดแบบอนุกรมที่ซ้อนกัน 2 ชั้นก็ได้หรือจะเป็นอนุกรมเดี่ยวแบบปกติก็ได้ 6:25 ข้อที่ 6 ข้อนี้เป็นอนุกรมที่มาจากผลบวกของเลข 2 ตัวข้างหน้า 7:09 ข้อที่ 7 ข้อนี้เหมือนกับอนุกรมในข้อที่ 6 แต่จะเป็นอนุกรมที่มาจากผลบวกของเลข 3 ตัวก่อนหน้า 7:57 ข้อที่ 8 ข้อนี้ต้องมองให้เห็นว่าสมาชิกทุกตัวที่อยู่ในอนุกรมนี้หารด้วย 6 ลงตัวแล้วโจทย์ข้อนี้ก็จะง่ายขึ้นมาทันที 8:50 ข้อที่ 9 เห็นอนุกรมยาวๆแบบในข้อนี้ชัดเจนเลยว่าเป็นอนุกรมที่ซ้อนกัน จะเป็นอนุกรมที่ซ้อนกัน 2 ชุดหรือ 3 ชุดแค่นั้น 10:14 ข้อที่ 10 เป็นอนุกรมเศษส่วนซึ่งรอบนี้ออกมา 2 ข้อ แล้วก็แตกต่างออกไปจากปีก่อนๆ โดยปีนี้จะแยกเศษและส่วนออกมาคิดแยกกัน คือเป็นคนละอนุกรมกันเลย ซึ่งก็ถือว่าง่ายขึ้นกว่าปีก่อนๆอยู่พอสมควร 12:13 ข้อที่ 11 เป็นอนุกรมเดี่ยวแบบปกติเหมือนในข้อที่ 5 ก็จะหาคำตอบได้โดยการหาผลต่างของสมาชิกแต่ละตัวไปเรื่อยๆ 13:56 ข้อที่ 12 เป็นอนุกรมที่ซ้อนกันอีกแล้วเพราะโจทย์ให้เลขมาตั้ง 9 ตัว แล้วก็สังเกตุได้ง่ายเพราะ 25,20 และ 15 เป็นเลข 2 หลักที่อยู่ห่างกัน 2 ตัวพอดีเลย 16:05 ข้อที่ 13 เป็นอนุกรมเดี่ยวแบบปกติแต่จะต้องสังเกตุว่าเลขที่เพิ่มขึ้นในชั้นที่ 2 นั้นเป็นการเพิ่มแบบยกกำลัง 2 18:52 ข้อที่ 14 เป็นอนุกรมแบบเศษส่วนอีกแล้วซึ่งจะใช้วิธีคิดเหมือนกับอนุกรมในข้อที่ 10 #อนุกรมกพ #ข้อสอบกพ #เฉลยข้อสอบกพ64 #เฉลยข้อสอบ #ข้อสอบกพ64 #แนวข้อสอบกพ #เฉลยข้อสอบจริงกพ #ข้อสอบจริงกพ สนใจสั่งซื้อหนังสือสอบ ก.พ. ได้ที่ https://ติวสอบกพ.com/หนังสือสอบกพ สนใจสั่งซื้อติว ออนไลน์ ได้ที่ https://elearning.ocsctutor.com