Русские видео

Сейчас в тренде

Иностранные видео


Скачать с ютуб กฎของโอห์ม EP2/2 (คำนวนสูตรง่ายๆ ฉบับสมบูรณ์100%..) เข้าใจทั้งหมดแค่ 6 นาที!! в хорошем качестве

กฎของโอห์ม EP2/2 (คำนวนสูตรง่ายๆ ฉบับสมบูรณ์100%..) เข้าใจทั้งหมดแค่ 6 นาที!! 3 года назад


Если кнопки скачивания не загрузились НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу страницы.
Спасибо за использование сервиса savevideohd.ru



กฎของโอห์ม EP2/2 (คำนวนสูตรง่ายๆ ฉบับสมบูรณ์100%..) เข้าใจทั้งหมดแค่ 6 นาที!!

สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับทุก ท่านเข้าสู่ช่อง Zimzim DIY หลังจาาคลิปที่แล้วผมได้ อธิบายที่มาที่ไป กฎของโอห์ม ในวันนี้ผมก็จะเข้าเนื้อหา การคำนวนสูตร และเทคนิคการใช้ สูตรกฎของโอห์ม กันนะครับ แล้วกฎของโอห์ม มันก็คืออะไร กฎของโอห์ม คือความสัมพันธ์ ระหว่างแรงดัน กระแส และ ความต้านทาน เราจะรู้สูตรพวกนี้ไปทำไม ที่เราใช้สูตรนี้ก็เพราะว่า เราต้องการรู้ค่าไดรู้ค่าหนึ่ง จาก ตัวแปรที่ให้มาไม่ครบ เพราะฉะนั้น ถ้าเรารู้ค่าตัวแปรสองตัวอยู่แล้ว ก็จะสามารถคำนวนหาค่าตัวแปรที่เหลือได้ แต่ถ้าหากเรารู้ค่าตัวแปรทั้งสามแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องใช้สูตรนี้ ก็ได้ครับ กฎของโอห์มได้รับการพัฒนามาจาก นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน Georg simon ohm ซึ่งเขาได้ พัฒนาลองผิดลองถูก จนกลายมาเป็น สามสูตรมาตฐานที่สำคัญ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับ สมการของการคำนวน ครับ แรงดัน = กระแส x ตัวต้านทาน และ กระแส = แรงดัน / ตัวต้านทาน และ ตัวต้านทาน = แรงดัน x กระแส ซึ่งสูตรนี้ เพื่อนๆหลายๆท่านบ่นว่าจำยาก มันมีหลายตัวแปร เพราะฉะนั้น เพื่อนๆก็แค่จำมันในรูปแบบของ 3เหลี่ยม คั้นด้วย 3ช่อง จากนั้นเราก็เขียน V ไว้ด้านบน I ไว้ด้านซ้ายล่าง R ไว้ด้านขวาล่าง คร่าวนี้ง่ายขึ้นเยอะแล้วละครับ ถ้าหากเพื่อนๆ อยากหาค่าอะไร ก็ให้เอามือปิดตัวอักษรที่เราต้องการหา ตัวนั้น สมมุติว่าถ้าเพื่อนๆอยากหาค่าแรงดัน แรงดันก็คือ V ใช่ไหมครับ เราก็เอานิ้วมือปิดตัว V แล้วก็เขียนตัว V ใส่กระกาษเอาไว้ก่อน หลังจากนั้น เราก็จะเหลือ I และ R เราก็ดึงมาใส่ให้ครบ ก็จะได้ V=ir หรือ V = I x R ซึ่งก็หมายความว่า แรงดันเท่ากับกระแสคูณด้วยความต้านทาน เหมือนสูตรที่เราเขียนเมื่อสักครู่เป๊ะ สำหรับ กระแสที่เขาใช้ตัวย่อเป็นตัว I ซึ่งแทนที่มันจะเป็น ตัว A ที่หมายแอมแปร์ ทำไมเป็นอย่างงั้น ตัว I เราจะตั้งชื่อตาม อังเดร แอมแปร์ ซึ่งเขาเรียก ปริมาณ กระแสไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง นี้ว่า Intensity of current หรือความเข้มของกระแส ดังนั้นเพื่อเป็นเกียรติ เราจะดึงตัว I มาใช้ในการคำนวนสูตร ครับ นอกจากตัว I ที่ปรากฎนีแล้ว เพื่อนๆก็คงจะเจอบางสูตร กฎของโอห์มที่ใช้ตัว E แทนตัว V ซึ่งตัว E ก็มีที่มาที่ไปอีกละครับ ชื่อย่อมันมาจาก EMF หรือ Electromotive Force หรือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า แต่ไม่ต้องห่วงครับ จะ V หรือ E ก็ใช้ได้เหมือนกัน อยู่ที่เราเลือกใช้ตัวไดตัวหนึ่งก็พอ อย่างที่ผมบอกนะครับ เมื่อเราปิด V เราก็จะได้สูตร แรงดัน = กระแส x ความต้านทาน (V)แรงดัน = (A)กระแส x (R)ตัวต้านทาน ..........แต่ถ้าหากเรา ต้องการหากระแสเราก็แค่เอานิ้ว ปิด ตัว I ก็จะได้ I = V / R ดังนั้นกระแสจึงเท่ากับแรงดัน หารด้วยความต้านทาน เหมือนสูตรที่เราเขียนเมื่อสักครู่เป๊ะ .............ถ้าเราอยากหาความต้านทานเราก็แค่เอ่นิ้ว ปิด ตัว R ก็จะได้ R = V/I ดังนั้นความต้านทานเท่ากับแรงดัน หารด้วยกระแส เหมือนสูตรที่เราเขียนเมื่อสักครู่เป๊ะ พอเรารู้วิธีการหาสูตรแล้วนะครับ ผมจะยกตัวอย่าง วงจรที่เราใช้สุตรพวกนี้กัน วงจรแรกผมจะ สมมุติว่าเรามีวงจรไฟฟ้าง่ายๆ วงจรหนึ่ง แบตเตอร์รี่เราไม่ทราบว่ามีกี่ V กระแสของเรามี 2A และ ตัวตัวต้านทานที่ค่า 3โอห์ม เราต้องการทราบแรงดันไฟฟ้าว่ามีเท่าไหร่ เราก็ใช้สามเหลี่ยมกฎของโอห์มพิสูจน์กัน โดยเอานิ้วปิดตัว V ก็จะได้ V เท่ากับ I X R เรารู้ว่ากระแสคือ 2 แอมป์ เราก็ใส่แทนค่า เรารู้ว่าความต้านทานเท่ากับ 3 โอห์ม เราก็ใส่แทนค่า เราจึงนำมันมาคูณกัน เพระาฮะนั้น 2A คูณด้วย 3ohm ก็จะได้ 6V เพราะฉะนั้น แบตเตอร์รี่ของเรามีแรงดันอยู่ที่ 6V แต่การใช้งานจริง เราอาจจะทราบค่าตัวแปร เพียงตัวแปรเดียวก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุติ เรามีวงงจรไฟฟ้าง่ายๆ วงจรหนึ่ง แบตเตอร์รีแรงดันเราไม่ทราบ กระแสเราก็ไม่ทราบเช่นกัน ตัวต้านทานอยู่ที่ 4 โอห์ม หากเราต้องการทราบแรงดัน เราก็ปรับมัลติมิเตอร์ย่านวัด A เราจะเห็นว่ากระแสไหลที่ 3A เพราะฉะนั้น V = 3 x 4 ก็จะได้ 12 เพราะฉะนั้น แบตเตอร์รี่ของเรามีแรงดันอยู่ที่ 12V ในการหากระแสเราเขียน ก็ทำเหมือนกันครับ ให้เอานิ้วมือปิด อักษรตัว I แล้ว ในรูปสามเหลี่ยม ทำให้เราเหลือ V กับ R ดังนั้นเมื่อ V อยูู่ข้างบนตัว R มันก็เลยจะ หารกัน มันจะเหมือนกับเศษส่วนนะครับ กระแสจึงเท่ากับแรงดันหารด้วยความต้านทาน อย่างตัวอย่างนี้ เรารู้ว่าแรงดันไฟฟ้าคือ 6V และความต้านทานอยู่ที่ 3 โอห์ม ดังนั้นเมื่อนำมาหารกัน 6/3 3 2 6 ดังนั้นกระแสจึงเป้น 2 แอมป์ ถ้าเพื่อนๆเรียนเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ควรจะมี มัลติมิเตอร์ เก็บไว้บ้านสักตัวหนึ่งนะครับ เพราะว่ามันสำคัญเป็นมากในการเรียนรู้แบบปฎิบัติ เดี่ยวผมจะทำเป็นลิงค์แนะนำไว้ใต้คลิปให้ครับ แต่การใช้งานจริงๆ เราจจะทราบค่าตัวแปรเพียงตัวแปรเดียวก็ได้ ตัวอย่างเช่น สมมุตืว่า เรามีวงจรไฟฟ้าง่ายๆ วงจรหนึ่ง แรงดันเรารู้ว่ามี 6V กระแสเราไม่ทราบ ความต้านทานเราไม่ทราบ หากเราต้องการทราบความต้านทาน เราก็ปรับมัลติมิเตอร์ ย่าน โอห์ม เรราก็จะเห็นว่าความต้านทาน = 2 โอห์ม เพราะฉะนั้น I = 6/2 ก็จะได้ 3 เพราะฉะนัน้แบตเตอร์รี่ของเรามีกระแสอยู่ที่ 3A ในการหาความต้านทานก็เหมือนกันคับ เราเอานิ้วปิด R ในรูปสามเหลี่ยม แล้วเราเขียน R ทิ้งไว้ เราเหลือ V กับ I สูตรนี้ก็คือ ความต้านทานเท่ากับแรงดันหารด้วยกระแส เรารู้แรงดันไฟฟ้าคือ 12V และกระแสคือ 6A เอามาหารกันจึงรู้ว่ามีความต้านทาน 2ohm สำหรับกฎของโอห์มมันที่ผมอธิบายไป มันเป็นสูตรพื้นฐาน ซึ่ง ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับ กำลังไฟฟ้าได้ ซึ่งจะได้สูตรที่หลากหลายมากขึ้น เดี๋ยวจะพูดถึงอีกทีใน คลิปถัดๆไปนะครับ ส่วนคลิปนี้ ขอบคุณเพื่อนๆ ทุกท่านที่ติดตามรับชมครับ ขอบคุณข้อมูล จากอินเทอร์เน็ต: The Engineering Mindset

Comments